1. การเเก้ไขปัญหาโดยใช้คอมพิวเตอร์มี 4 ขั้นตอนคือ
ตอบ 1. การกำหนดปัญหา
2. วางแผนการแก้ปัญหา
3. ดำเนินการ
4. รายงานและสรุปผล
2. ภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ต้องมีโครงสร้างควบคุมหลัก 3 แบบ ได้แก่
ตอบ 1. โครงสร้างแบบลำดับ
2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก
3. โครงสร้างแบบทำซ้ำ
2. วางแผนการแก้ปัญหา
3. ดำเนินการ
4. รายงานและสรุปผล
2. ภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ต้องมีโครงสร้างควบคุมหลัก 3 แบบ ได้แก่
ตอบ 1. โครงสร้างแบบลำดับ
2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก
3. โครงสร้างแบบทำซ้ำ
3.ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงอะไร
ตอบ โปรแกรมหรือชุดคาสํ ่ังที่
โปรแกรมเมอร์เขียนเพื่อใช้สั่งงานตามรูปแบบโดยที่คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามค
ํ าสํ ่ังน้ันได
4.องค์ประกอบของภาษาซึ่งมี 4 ส่วน
คือ
ตอบ 1. เฮดเดอร์ไฟล์ (Header
File)
เป็นไฟล์ที่เก็บไลบรารีมาตรฐาน
(Standard Library) เมื่อคอมไพเลอร์แปลคำสั่งของโปรแกรมภาษาซี
ไลบรารีมาตรฐานจะถูกอ่านเข้ามารวมในโปรแกรมขณะที่ทำการคอมไพเฮดเดอร์ไฟล์จะเขียนด้วยอักษรตัวใหญ่หรือเล็กก็ได้
ในโปรแกรมต่างๆอาจจะใช้เฮดเดอร์ไฟล์มากกว่า 1 ไฟล์ก็ได้
ซึ่งเป็นไปตามฟังก์ชันที่โปรแกรมเรียกใช้งาน เฮดเดอร์ไฟล์จะมีส่วนขยายเป็น .h
เสมอ การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ที่เรียกใช้งาน
2. ฟังก์ชัน (Function)
อาจเรียกว่า
โปรแกรมย่อย ก็ได้โปรแกรมภาษาซีจะต้องมีฟังก์ชัน main() เสมอ
และฟังก์ชันที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้นมาใช้งาน
การทำงานจะเริ่มที่คำสั่งในฟังก์ชัน main()
ซึ่งจะเป็นฟังก์ชันแรก รูปแบบการเขียนฟังก์ชันจะต้องเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย {
และปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย } เสมอ
3. ส่วนกำหนดตัวแปร
(Declaration of Variable)
คือ
ส่วนกำหนดชนิดข้อมูล และตัวแปร ก่อนที่จะอ้างถึงตัวแปรนั้นๆมาใช้งาน
ซึ่งการกำหนดข้อมูล และตัวแปร อาจกำหนดอยู่ใต้เฮดเดอร์ไฟล์ หรือภายในฟังก์ชันก็ได้
ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน
4. ส่วนตัวโปรแกรม
(Body)
ส่วนนี้จะประกอบด้วยคำสั่ง
คำสั่งควบคุมการทำงาน นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ การกำหนดค่าตัวแปร
และอื่นๆเมื่อจบคำสั่ง จะต้องลงท้ายด้วยเครื่องหมาย ; เพื่อแสดงว่าจบคำสั่งนั้นๆเสมอ
จากองค์ประกอบของภาษาซีทั้ง
4
ส่วนที่กล่าวมาข้างต้น สาม
5. ”ข้อมูลชนิดไม่มีค่า” คืออะไร
ตอบ ข้อมูลชนิดนี้จะไม่ใช้ในการกำหนดชนิดของตัวแปร
แต่ใช้ในการตรวจสอบค่าฟังก์ชันที่เรียกใช้งาน เช่น
การเปรียบเทียบค่าฟังก์ชันส่งค่ากลับมาเป็นค่า Null หรือไม่ เป็นต้น
6.เครื่องหมาย”!”มีความหมายว่าอย่างไร
ตอบ จะให้ค่าเป็นจริง
เมื่อเงื่อนไขหลัง ! เป็นเท็จ และให้ค่าเป็นเท็จ
เมื่อเงื่อนไขหลัง ! เป็นจริง
7.ตัวแปร”type”หมายถึง
ตอบ ชนิดของข้อมูล
8.การประมวลผลข้อมูลคืออะไร
ตอบ ข้อมูล
(Data) คือ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น
ซึ่งอาจจะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง
ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูล จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง
ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้
1)
ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่
ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ
เลขจำนวนเต็ม และเลขทศนิยม
2)
ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง
ข้อมูลที่ ไม่สามารถนำ ไปคำนวณได้ แต่อาจนำไปเรียงลำดับได้ เช่น
การเรียงลำดับตัวอักษร ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ
3)
ข้อมูลภาพ (Image) ได้แก่
ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว ภาพเขียน ภาพถ่าย เป็นต้น
4) ข้อมูลเสียง (Audio) ได้แก่ เสียงพูด เสียงเพลง
เสียงดนตรี เป็นต้น
สารสนเทศ (Information)
คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลแล้ว
ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
การประมวลผลข้อมูล
(Data Processing) คือ
การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศทั้งแบบเชื่อมตรงและแบบกลุ่มเป็นกระบวนการจัดการข้อมูลตามขั้นตอนที่ถูกต้องโดยใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่าง
ๆ เป็นอุปกรณ์สำคัญเพื่อให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้
2.
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. การรับข้อมูลเข้า (Input)
ข้อมูลที่จะใช้ในการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์จะต้องจัดเก็บในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจก่อน
โดยการรับข้อมูลเข้า อาจทำได้โดย การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ การใช้เมาส์
การอ่านรหัสโดยใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด การสแกนข้อมูลผ่านเครื่องสแกน เป็นต้น
2. การประมวลผลข้อมูล (Process) การแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปที่มีความหมายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น
การจัดหมวดหมู่ การเรียงลำดับ การคำนวณ การสืบค้น เป็นต้น
3. การแสดงผล (Output) การแสดงผลลัพธ์ของการประมวลผลออกมาเป็นสารสนเทศตามที่ผู้ใช้ต้องการ
เช่น การออกรายงาน การบันทึกข้อมูล และการสื่อสารข้อมูล เป็นต้น
9. การจัดการข้อมูลคืออะไร
ตอบ - การจัดหมวดหมู่ (Classifying data) เป็นการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มตามคุณลักษณะที่กิหนด เช่น การแบ่งกลุ่มนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย เป็นต้น
9. การจัดการข้อมูลคืออะไร
ตอบ - การจัดหมวดหมู่ (Classifying data) เป็นการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มตามคุณลักษณะที่กิหนด เช่น การแบ่งกลุ่มนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย เป็นต้น
- การเรียงลำดับ (Sorting data) คือ การเรียงลำดับจากมาไปน้อยหรือจากน้อยไปมาก
เรียงตามอักษรหรือตัวเลข เช่น การแสดงคะแนนสอบ เป็นต้น
- การคำนวณ (Calculation data) เป็นการคำนวณข้อมูลทางคณิตศาสตร์ โดยดารบวก ลบ
คูณ หาร เช่น การคำนวณราคาของสินค้า เป็นต้น
- การสรุปข้อมูล (Summarizing data) การสรุปข้อมูลจากที่ได้รวบรวมไว้ให้ได้น้อยลง
เพื่อให้เข้าใจง่าย เช่น การสรุปเกรดเฉลี่ยของนักเรียนจากข้อมูลของแต่ละวิชา
เป็นต้น
- การสำเนาข้อมูล (Copying data) การทำซ้ำข้อมูลจากชุดหนึ่งเป็นหลายๆชุด
เพื่อแจกจ่าย หรือเป็นข้อมูลสำรอง
- การสืบค้นข้อมูล (Retrieving data)
การค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากกลุ่มข้อมูลที่มีการจัดเก็บไว้ เช่น
การสืบประวัตินักเรียน เป็นต้น
- การปรับปรุงข้อมูล (Updating data)
เป็นการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องและทันสมัยให้สอดคล้องกับข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไป
เช่น การปรับปรุงยอดเงินในบัญชี เป็นต้น
10.www.คือ อะไรตอบบริการเวิลด์ไวด์ไว็บ
(WWW) คือ
บริการข้อมูลข่าวสารแบบสื่อผสม ที่ประกอบไปด้วย ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว
ภาพยนตร์ เสียง ในอินเทอร์เน็ต
ซึ่งเป็นที่ดึงดูดให้ผู้คนส่วนใหญ่ เข้ามา ใช้บริการกันอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้
เวิลด์ไวด์เว็บยัง เป็นเครื่องมือช่วยค้นหารายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างสมบูรณ์แบบเกือบทุกเรื่อง
สามารถเชื่อมโยงไปยังแหล่งต่าง ๆ ได้อย่างไร้ขีดจำกัด ใช้งานง่าย สะดวกและรวดเร็ว
ทำให้ประหยัดเวลา รวมทั้งยังสามารถ
เผยแพร่เอกสารที่ได้จัดทำ ไปให้ผู้คนทั่วโลกโดยผ่านทาง โปรแกรมค้นผ่าน (Web Browser) ได้เช่นกัน โดยเสียค่าใช้จ่าย ถูกกว่า
การตีพิมพ์บนกระดาษ หรือบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ เวิลด์ไวด์เว็บ
จึงเป็นต้นเหตุสำคัญ ทำให้ สถิติการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้คนทั่วโลก เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วรวดเร็ว
11.Search Engine ที่นิยมกันมากที่สุด คือเว็บไซ ใด
ตอบคือ เครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลหรือโปรแกรมการค้นหาข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต ทั้งค้นหาข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล ข่าว อื่นๆ โดยการค้นหาข้อมูลจากการกำหนดคำสำคัญ (Keyword) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปในเว็บไซต์ค้นหาคำ จากนั้นเว็บไซต์ก็จะทำการค้นหาคำนั้นให้ แล้วแสดงผลลัพธ์ที่คิดว่าผู้ใช้ต้องการขึ้นมาได้อย่างรวดเร็ว Search Engine มีหลายตัวแต่ปัจจุบันที่นิยมมากที่สุดคือ Google ซึ่งจะบันทึกประวัติการค้นหาข้อมูลไว้ด้วย
12.มัลติมีเดีย (Multimedia) คืออะไร
ตอบคือ เครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลหรือโปรแกรมการค้นหาข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต ทั้งค้นหาข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล ข่าว อื่นๆ โดยการค้นหาข้อมูลจากการกำหนดคำสำคัญ (Keyword) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปในเว็บไซต์ค้นหาคำ จากนั้นเว็บไซต์ก็จะทำการค้นหาคำนั้นให้ แล้วแสดงผลลัพธ์ที่คิดว่าผู้ใช้ต้องการขึ้นมาได้อย่างรวดเร็ว Search Engine มีหลายตัวแต่ปัจจุบันที่นิยมมากที่สุดคือ Google ซึ่งจะบันทึกประวัติการค้นหาข้อมูลไว้ด้วย
13.จงบอกคุณธรรม และจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และเอินเตอร์เน็ต
ตอบจริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
14.กฏหมายเทคโนโลยี สารสนเทศของประเทศไทยมี6ฉบับได้แก่
ตอบปัจจุบันบางประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีกฎหมายควบคุมสื่ออินเทอร์เน็ต ก็ยังไม่สามารถควบคุมภัยล่อลวงต่าง ๆ จากสื่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างเด็ดขาดเต็มที่โดยเฉพาะควบคุมดูแลการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนสื่ออินเทอร์เน็ตนั้นก็ยังเป็นปัญหา โดยเฉพาะการเผยแพร่สื่อสารลามกหรือบ่อนการพนัน
ตอบความหมาย ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมที่มีความสามารถในการแก้ไขดัดแปลงโปรแกรมอื่น เพื่อที่จะทำให้โปรแกรมนั้นๆ สามารถเป็นที่อยู่ของมันได้และสามารถทำให้มันทำงานได้ต่อไปเรื่อยๆ เมื่อมีการเรียกใช้โปรแกรมที่ติดเชื้อไวรัสนั้น
ตอบ1. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก 1. ออมทรัพย์ แก่นจันทร์หอม 2. เสกสรรค์ สินทวี
ตอบคือ เครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลหรือโปรแกรมการค้นหาข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต ทั้งค้นหาข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล ข่าว อื่นๆ โดยการค้นหาข้อมูลจากการกำหนดคำสำคัญ (Keyword) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปในเว็บไซต์ค้นหาคำ จากนั้นเว็บไซต์ก็จะทำการค้นหาคำนั้นให้ แล้วแสดงผลลัพธ์ที่คิดว่าผู้ใช้ต้องการขึ้นมาได้อย่างรวดเร็ว Search Engine มีหลายตัวแต่ปัจจุบันที่นิยมมากที่สุดคือ Google ซึ่งจะบันทึกประวัติการค้นหาข้อมูลไว้ด้วย
ตอบคือ เครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลหรือโปรแกรมการค้นหาข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต ทั้งค้นหาข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล ข่าว อื่นๆ โดยการค้นหาข้อมูลจากการกำหนดคำสำคัญ (Keyword) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปในเว็บไซต์ค้นหาคำ จากนั้นเว็บไซต์ก็จะทำการค้นหาคำนั้นให้ แล้วแสดงผลลัพธ์ที่คิดว่าผู้ใช้ต้องการขึ้นมาได้อย่างรวดเร็ว Search Engine มีหลายตัวแต่ปัจจุบันที่นิยมมากที่สุดคือ Google ซึ่งจะบันทึกประวัติการค้นหาข้อมูลไว้ด้วย
ตอบจริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
14.กฏหมายเทคโนโลยี สารสนเทศของประเทศไทยมี6ฉบับได้แก่
ตอบปัจจุบันบางประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีกฎหมายควบคุมสื่ออินเทอร์เน็ต ก็ยังไม่สามารถควบคุมภัยล่อลวงต่าง ๆ จากสื่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างเด็ดขาดเต็มที่โดยเฉพาะควบคุมดูแลการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนสื่ออินเทอร์เน็ตนั้นก็ยังเป็นปัญหา โดยเฉพาะการเผยแพร่สื่อสารลามกหรือบ่อนการพนัน
ซึ่งปัญหาดังกล่าว
นอกจากจะเกี่ยวข้องกับสิทธิส่วนบุคคลในการเข้าถึงข้อมูล
การก้าวก่ายสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก ซึ่งเป็นสิทธิพื้นฐานของประชาชน
ยังอาจจะขัดต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศอีกด้วย อีกทั้งลักษณะพิเศษของข้อมูลต่าง
ๆ ที่อยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายที่มีลักษณะเป็นใยแมงมุม
ซึ่งระบบกระจายความรับผิดชอบไม่มีศูนย์กลางของระบบ
และเป็นเครือข่ายข้อมูลระดับโลกยากต่อการควบคุม และเป็นสื่อที่ไม่มีตัวตน
หรือแหล่งที่มาที่ชัดเจน ทั้งผู้ส่งข้อมูล หรือผู้รับข้อมูล
ดังนั้นกฎหมายที่จะมากำกับดูแล หรือควบคุมสื่ออินเทอร์เน็ต
จะต้องเป็นกฎหมายลักษณะพิเศษ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล แต่ความแตกต่างในระบบการเมือง สังคม
และวัฒนธรรม ในแต่ละประเทศยังเป็นปัญหาอุปสรรค
ในการร่างกฎหมายดังกล่าวซึ่งปัจจุบันยังไม่ปรากฏผลเป็นกฎหมายยังคงอยู่ในระยะที่กำลังสร้างกฎเกณฑ์กติกาขึ้นมากำกับบริการอินเทอร์เน็ต
15.ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไรตอบความหมาย ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมที่มีความสามารถในการแก้ไขดัดแปลงโปรแกรมอื่น เพื่อที่จะทำให้โปรแกรมนั้นๆ สามารถเป็นที่อยู่ของมันได้และสามารถทำให้มันทำงานได้ต่อไปเรื่อยๆ เมื่อมีการเรียกใช้โปรแกรมที่ติดเชื้อไวรัสนั้น
ตัวอย่างไวรัสคอมพิวเตอร์
มีไวรัสคอมพิวเตอร์หลายชนิดที่มนุษย์สามารถคิดค้นได้ อาทิเช่น Worm, Trojan Horse, Logic Bomb, Chameleons,
Pakistani, Macintosh, Scores, Peace, Lehigh, Keypress, Dark Avenger, Stoned,
Michealangello หรือแม้แต่ไวรัสที่ใช้ชื่อไทยเช่น ลาวดวงเดือน
เป็นต้น
16.จงบอกขั้นตอนการทำโครงงานตอบ1. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นงานวิจัยในระดับนักเรียน
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีอยู่ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนำผลที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง
หรือใช้เพื่อช่วยสร้างสื่อเพื่อเสริมการเรียนให้ได้ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกฝนการใช้ทักษะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์
พร้อมทั้งเครื่องมือต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนาการสร้างผลงานจริงด้วย
2. หลักการทำโครงงาน
1.
เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องซอฟต์แวร์และเครื่องคอมพิวเตอร์
2.
ผู้เรียนเป็นริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษา ค้นคว้า พัฒนา
3.
เก็บรวบรวมหรือประดิษฐ์คิดค้นด้วยตนเองตามความสนใจและระดับความรู้ความสามารถ
4.
ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา สรุป และเสนอผลการศึกษาด้วยตนเอง
โดยมีผู้สอนเป็นที่ปรึกษา
3. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา เช่น
โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ เป็นต้น
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
เป็นโครงงานที่สร้างเครื่องมือ ใช้สร้างงาน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ เช่น
ซอฟต์แวร์วาดรูป เป็นต้น
3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลองการทดลองของสาขาต่างๆ
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจำวัน
5. โครงงานพัฒนาเกม
เพื่อความรู้ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เป็นต้น
สมาชิก 1. ออมทรัพย์ แก่นจันทร์หอม 2. เสกสรรค์ สินทวี
3. ชยานนท์ จินดา 4. กิตติธัช หาญณรงค์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น